BUX Markets เก็บค่าธรรมเนียมบ่อย ? รีวิวจากผู้ใช้งานจริง 2024

BUX Markets
Table of Contents

สวัสดีค่ะทุกคน กลับมาพบกับคุณน้ากันอีกแล้วนะคะ วันนี้คุณน้าก็มีโบรกเกอร์มารีวิวให้อ่านกันอีกแล้วค่ะ ซึ่งวันนี้ก็ถึงคิวของโบรกเกอร์สัญชาติเนเธอร์แลนด์ อย่าง BUX Markets ซึ่งค่อนข้างเป็นที่รู้จักกันในกลุ่มนักเทรด หลายคนอาจจะคุ้นหูเกี่ยวกับการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมที่ค่อนข้างบ่อย เรามาศึกษาข้อมูลเบื้องต้นไปพร้อม ๆ กันดีกว่าค่ะ ว่าโบรกเกอร์ BUX Markets มีที่มาอย่างไร และมีการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมบ่อยจริงไหม และก่อนจะตัดสินใจเลือกโบรกเกอร์ในการลงทุน อย่าลืมศึกษารีวิวจากผู้ใช้งานจริงได้ที่ส่วนท้ายของบทความกันนะคะ

ข้อมูลเบื้องต้นของ BUX Markets

BUX Markets เป็นโบรกเกอร์สัญชาติเนเธอร์แลนด์ ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 2013 โดยเป็นส่วนหนึ่งของ BUX Group ซึ่งเป็นบริษัท FinTech ที่ต้องการจะพัฒนาและพลิกโฉมโลกแห่งการเงิน โดยมีการให้บริการเทรดผลิตภัณฑ์ที่ค่อนข้างหลากหลายผ่านทางหน้าเว็บไซต์และแอพพลิเคชั่นบนมือถือ ถึงแม้ว่าทาง BUX Markets จะให้บริการครอบคลุมตลาดที่หลากหลาย แต่ก็ยังมีข้อจำกัดด้านแพลตฟอร์มและประเภทบัญชีที่ไม่หลากหลาย รวมไปถึงข้อจำกัดของช่องการในการฝาก – ถอน อีกด้วย

ปัจจุบัน BUX Market มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ลอนดอน ประเทศอังกฤษ และเมืองอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์

BUX Markets รีวิว


ประเภทบัญชีของ BUX Markets

โบรกเกอร์ BUX Markets มีประเภทบัญชี 2 ประเภท ดังนี้

  • บัญชี Demo
  • บัญชี Pro


BUX Markets ประเภทบัญชี

ช่องทางการฝาก – ถอน BUX Markets


การฝากเงิน BUX Markets

ช่องทางการฝากเงิน

ช่องทางการฝากถอน


การถอนเงิน BUX Markets

ช่องทางการถอนเงิน

ช่องทางการฝากถอน


แพลตฟอร์มที่รองรับ BUX Markets


แพลตฟอร์มที่รองรับ BUX Matkets มีเพียงหนึ่งแพลตฟอร์ม ได้แก่

  • แพลตฟอร์ม BUX Markets

ผลิตภัณฑ์ที่สามารถเทรดใน BUX Markets


BUX Markets มีการให้บริการตัวเลือกทางตลาดที่หลากหลายทั่วโลก บนแพลตฟอร์มการซื้อขายออนไลน์ของทางโบรกเกอร์ โดยผลิตภัณฑ์ที่มีให้เลือก ได้แก่

  • ดัชนี (Indices)
  • สกุลเงิน (Forex)
  • หุ้น (Shares)
  • ETFs
  • สินค้าโภคภัณฑ์ (Commodities)
  • อัตราดอกเบี้ยและพันธบัตร (Interest rates and Bonds)




📢 คำแนะนำจากคุณน้า


BUX Markets ถือว่าเป็นอีกโบรกเกอร์หนึ่งที่น่าสนใจเลยทีเดียว ด้วยระยะเวลาการเปิดให้บริการที่ยาวนาน ทำให้เป็นที่รู้จักในหมู่นักเทรด แต่ด้วยหน้าเว็บไซต์ที่ไม่รองรับภาษาไทย จึงอาจจะไม่เหมาะกับนักเทรดชาวไทย จากในมุมมองของคุณน้า ถึงแม้ว่าโบรกเกอร์จะมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกเทรดมากมาย แต่ก็ยังพบปัญหาในเรื่องของข้อจำกัดของแพลตฟอร์มการเทรดที่มีเพียงหนึ่งแพลตฟอร์มและช่องทางการทำธุรกรรมที่ไม่หลากหลาย นอกจากนี้แล้วทางโบรกเกอร์ยังมีการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมแม้ว่าบัญชีนั้นจะไม่ได้มีการใช้งานเลยก็ตาม หากใครที่อ่านรีวิวของคุณน้าแล้วรู้สึกสนใจอยากจะเริ่มลงทุน คุณน้าได้รวบรวมจุดอ่อนที่พบในระหว่างการเทรดกับโบรกเกอร์นี้มาให้ทุกคนได้ลองพิจารณากัน เพื่อประกอบการตัดสินใจต่อไปนะคะ

  • มีการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมแม้บัญชีไม่มีการใช้งาน
  • ประเภทบัญชีไม่หลากหลาย เพราะถ้าไม่นับ Demo คือมีเพียงบัญชีประเภทเดียว
  • ตัวเลือกการฝากเงินค่อนข้างจำกัด ซึ่งไม่เหมาะกับคนไทย
  • ไม่มีเครื่องมือขั้นสูงในการซื้อ-ขาย แบบมืออาชีพ
  • ไม่รองรับการช่วยเหลือแบบ Real-time
  • การทำธุรกรรมผ่านธนาคารมีความล่าช้า
  • ไม่รองรับภาษาไทย
  • ไม่มีข้อมูลเปรียบเทียบบัญชี
  • แพลตฟอร์มการเทรดค่อนข้างจำกัด
  • ไม่รองรับแพลตฟอร์ม MetaTrader 4 และ MetaTrader 5



สรุปคะแนนจากคุณน้า : 4 / 10


⚠️ รีวิวจากผู้ใช้งาน BUX Markets


BUX Markets รีวิว




Link: https://www.trustpilot.com/review/getbux.com?page=2


BUX Markets รีวิว




Link: https://www.trustpilot.com/review/getbux.com?page=2


BUX Markets รีวิว




Link: https://www.trustpilot.com/review/getbux.com?page=2


BUX Markets รีวิว




Link: https://www.trustpilot.com/review/getbux.com?page=2




สำหรับใครที่สนใจอ่านรีวิวโบรกเกอร์อื่น ๆ : Review Brokers

บทความในเรื่องการลงทุนที่น่าสนใจ : Investing

คลังความรู้จากคุณน้า : Knowledge

คุณอา
คุณอา
Recent Post
กองทุน Thai ESG ทางเลือกใหม่เพื่อความยั่งยืน ซื้อกองไหนดี? ปี 2024
กองทุน Thai ESG ทางเลือกใหม่เพื่อความยั่งยืน ซื้อกองไหนดี? ผลตอบแทนสูง ปี 2024

คุณน้าพาเทรดจะพาทุกคนมารู้จักกับกองทุน Thai ESG ทางเลือกใหม่เพื่อความยั่งยืน ซื้อกองไหนดี? เพื่อให้ทุกคนได้รู้จักกับกองทุนประเภทนี้ดียิ่งขึ้น

ทำความรู้จัก “4 เครื่องหมายหุ้นใหม่” เตือนนักลงทุน หุ้นเสี่ยงมีปัญหา
ทำความรู้จัก “4 เครื่องหมายหุ้นใหม่” เตือนนักลงทุน หุ้นเสี่ยงมีปัญหา

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมีการจัดตั้ง “เครื่องหมายหุ้น” เพื่อต้องการรักษาสิทธิประโยชน์ของนักลงทุนให้ได้มากที่สุดผ่านการแจ้งข้อมูลสำคัญหรือเหตุการณ์ที่อาจส่งผลต่อบริษัทที่ออกหุ้นโดยใช้เครื่องหมายหุ้นแต่ละสัญลักษณ์เป็นตัวกำหนด และวันนี้คุณน้าจะพาทุกคนไปรู้จักกับ “4 เครื่องหมายหุ้นใหม่” ที่มีการประกาศใช้อย่างเป็นทางการในวันที่ 25 มีนาคม 2567

รวมทุกขั้นตอน เริ่มต้นเทรด Forex ไปกับ IUX อ่านจบเทรดเป็นแน่นอน
รวมทุกขั้นตอน เริ่มต้นเทรด Forex ไปกับ IUX ทำได้อย่างไร? อ่านจบเทรดเป็นแน่นอน!

ในบทความนี้คุณน้าได้ทำการรวบรวมขั้นตอนการเปิดบัญชีและการฝากเงิน สำหรับเทรดเดอร์มือใหม่ที่ต้องการเริ่มต้นเทรด Forex ไปกับ IUX